กลุ่มขนมโบราณตำนานเมืองรือเสาะ
กลุ่มแม่บ้านนี้มีที่ทำการอยู่บ้านยาเเลเบาะหมู่ที่ 5 ตำบลรือเสาะ อุษณีย์ มั่นคง ประธานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านยาแลเบาะ เท้าความให้ฟังว่า เดิมในพื้นที่มีกล้วยน้ำว้ามาก ส่วนใหญ่ปลูกแซมอยู่ในสวนยาง
กลุ่มแม่บ้านนี้มีที่ทำการอยู่บ้านยาเเลเบาะหมู่ที่ 5 ตำบลรือเสาะ อุษณีย์ มั่นคง ประธานกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านยาแลเบาะ เท้าความให้ฟังว่า เดิมในพื้นที่มีกล้วยน้ำว้ามาก ส่วนใหญ่ปลูกแซมอยู่ในสวนยาง
เพราะภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำ ทำให้โรงงานยางไทยปักษ์ใต้ปิดตัวลง เมื่อปี 2541 ชาวบ้านนับร้อยชีวิตกลายเป็นคนตกงาน ในเวลานั้นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จแปรพระราชฐานมาที่พระตำหนักทักษิณราชนิเวศน์
เกษตรกรมักถูกเอารัดเอาเปรียบอยู่เป็นประจำ หลายๆ ที่จึงใช้วิธีรวมตัวกัน เพื่อช่วยเหลือกันและกัน ดังเช่นเกษตรกรที่เทศบาลตำบลรือเสาะ ซึ่งรวมกลุ่มกันเป็นสหกรณ์การเกษตรรวมมิตร จำกัด มาตั้งแต่วันที่ 27 พฤศจิกายน 2545
‘เหตุด่วน ฉุกเฉิน เรียกหน่วยกู้ชีพกู้ภัย มูลนิธิฮิลาลอะห์มัร 24 ชั่วโมง’ คือสโลแกนที่ชาวรือเสาะและคนในพื้นที่ใกล้เคียงคุ้นเคยเป็นอย่างดี เนื่องด้วยในพื้นที่นี้มีเหตุด่วนเหตุร้ายเกิดขึ้นบ่อย
ณ ชุมชนบือแนยาโมง หมู่ที่ 2 ตำบลรือเสาะออก เป็นที่ตั้งของมัสยิดอัลฮีดายะห์ ซึ่งถือเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน ทั้งยังเป็นที่บ่มเพาะกิจกรรมต่างๆ มากมาย ทั้งศาสนา วัฒนธรรม สุขภาพ และเศรษฐกิจ
หนึ่งในสวัสดิการที่ประสบความสำเร็จในหลายพื้นที่ ก็คือโครงการสวัสดิการออมวันละบาท ซึ่งมีที่มาแตกต่างกันไป บ้างเกิดขึ้นเพราะภาครัฐมีนโยบาย บ้างเกิดขึ้นมาก่อน
เกิดแก่เจ็บตายถือเป็นธรรมชาติที่มนุษย์ไม่สามารถหลีกพ้นได้ แต่การแสดงน้ำใจระหว่างคนในชุมชนก็ถือเป็นความดีงามที่พวกเขามอบให้กันและกัน โดยเฉพาะช่วงเวลาที่มีใครจากไปชั่วนิรันดร์
เดินทางเลาะลัดไปยังตรอกซอกซอยของตำบลแม่แรง ได้เห็นได้เรียนรู้เรื่องราวหลากหลาย แต่ระหว่างทาง กองทัพต้องหยุดพัก เมื่อเสียงร้องของสิ่งที่ไม่อาจต้านทานได้อุบัติขึ้น
แม้ที่ตำบลแม่แรงจะมีการผลิตตุงล้านนาจำหน่ายกันหลายหลังคาเรือน แต่เชื่อหรือไม่ว่ามีเพียงบ้านของ ลุงเสย มูลชีพ เพียงบ้านเดียวที่ผลิตหัวตุงขาย
“…ท่านทรงเหนื่อยทรงทำเพื่อเราเรื่อยมา ถึงเวลาทำให้ท่านสุขใจ ร่วมกันสร้างความดีด้วยใจและกาย ก้าวตามรอยบาทองค์พระราชา…”